Page 214 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 214

๒๐๐




                                        หมายเหตุ ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๕๐๔/๒๕๕๑ ไม่ได้วินิจฉัยว่าเอกสาร
                       ประกวดราคาจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นค าสั่งประเภทใด ในขณะที่ค าสั่งศาลปกครอง
                       สูงสุดที่ ๑๖๕/๒๕๕๑ และที่ ๓๖๗/๒๕๕๒ วินิจฉัยว่า ประกาศประกวดราคาดังกล่าวเป็นค าสั่ง


                       ทางปกครองทั่วไป

                              ๓.๒ ขั้นตอนการด าเนินการของคณะกรรมการจัดซื้อหรือจัดจ้าง


                                  จากการศึกษาค าวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุดพบว่า ข้อพิพาทในขั้นตอน

                       การพิจารณาและเสนอความเห็นของคณะกรรมการจัดซื้อหรือจัดจ้างนั้น ศาลปกครองสูงสุด
                       มีค าวินิจฉัยในแนวทางเดียวกันว่า การด าเนินการดังกล่าวของคณะกรรมการฯ เป็นเพียงการ
                                                        ๑๕๔
                       พิจารณาทางปกครอง ตามมาตรา ๕  แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
                       พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงยังไม่มีค าสั่งทางปกครองที่มีผลกระทบต่อสิทธิหน้าที่หรือสถานภาพของ

                       ผู้เสนอราคา การโต้แย้งการด าเนินการของคณะกรรมการฯ ในขั้นตอนนี้ จึงยังไม่เป็นคดีปกครอง
                       ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ เช่น ค าสั่งศาลปกครองสูงสุด

                       ที่ ๙๐๓/๒๕๔๘ และที่ ๒๔๖/๒๕๔๙ เป็นต้น แต่ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธี
                       ประกวดราคาแบบ ๒ ซอง ซึ่งก าหนดให้ผู้เสนอราคายื่นซองประกวดราคาแยกเป็นซองข้อเสนอ
                       ด้านเทคนิคและซองข้อเสนอด้านราคา โดยในการพิจารณาข้อเสนอด้านราคา คณะกรรมการ

                       พิจารณาผลการประกวดราคาจะเปิดซองข้อเสนอด้านราคาเฉพาะผู้ที่ผ่านการพิจารณาข้อเสนอ
                       ด้านเทคนิคเท่านั้น โดยในส่วนของผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯ เกี่ยวกับข้อเสนอ

                       ด้านเทคนิคนั้น ศาลปกครองสูงสุดได้มีค าวินิจฉัยเป็น ๒ แนวทาง กล่าวคือ แนวทางแรก
                       วินิจฉัยว่าผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯ เป็นค าสั่งทางปกครอง ซึ่งได้แก่ค าสั่งศาลปกครอง

                       สูงสุดที่ ๔๕๓/๒๕๔๖ และแนวทางที่สอง วินิจฉัยว่าผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯ
                       เป็นเพียงการพิจารณาทางปกครอง จึงยังไม่มีค าสั่งทางปกครองที่มีผลกระทบต่อสิทธิหน้าที่

                       ของผู้เสนอราคา ซึ่งได้แก่ ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๒๙/๒๕๔๗ (โปรดศึกษาเพิ่มเติมจาก
                       ส่วนของแนวค าวินิจฉัยเรื่องอ านาจศาล ในหน้า ๙๔) ส าหรับในกรณีแรกซึ่งวินิจฉัยว่า
                       ผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯ เป็นค าสั่งทางปกครองนั้น ได้มีข้อวินิจฉัยในประเด็น
                                                                             ้
                       เกี่ยวกับขั้นตอนในการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายก่อนฟองคดีเพื่อโต้แย้งค าสั่ง ดังนี้








                              ๑๕๔  อ้างแล้ว ในเชิงอรรถที่ ๙๑ หน้า ๙๓
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219