Page 215 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 215
๒๐๑
- มติของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาที่ให้ผู้ฟ้ องคดีไม่ผ่าน
ข้อเสนอด้านเทคนิค เป็นค าสั่งทางปกครองที่ออกโดยคณะกรรมการ การฟ้ องโต้แย้ง
๑๕๕
ค าสั่งดังกล่าวต่อศาลปกครอง จึงไม่ต้องอุทธรณ์ค าสั่งก่อนฟ้ องคดีตามนัยมาตรา ๔๘
๑๕๖
และมาตรา ๘๗ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
้
: ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๔๕๓/๒๕๔๖ กรุงเทพมหานคร (ผู้ถูกฟองคดี)
ประกาศประกวดราคาจ้างเหมาโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน ้าคลองแสนแสบและคลอง
ลาดพร้าวลงสู่แม่น ้าเจ้าพระยา โดยก าหนดให้ผู้เสนอราคายื่นซองเสนอราคาแยกเป็นซอง
้
ข้อเสนอด้านเทคนิคและซองข้อเสนอด้านราคา โดยผู้ถูกฟองคดีจะเปิดซองข้อเสนอด้านราคา
เฉพาะผู้ที่ผ่านการพิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิค ต่อมา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวด
้
้
ราคามีมติให้ผู้ฟองคดีไม่ผ่านข้อเสนอด้านเทคนิค ท าให้ผู้ฟองคดีถูกตัดสิทธิที่จะได้รับการ
้
พิจารณาข้อเสนอด้านราคา ผู้ฟองคดีเห็นว่ากรณีดังกล่าวเป็นค าสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เนื่องจากไม่แจ้งเหตุผลและไม่ก าหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกที่แน่นอน คณะกรรมการฯ
้
มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้บริหารของผู้ประกวดราคารายอื่น จึงน าคดีมาฟองขอให้ศาลมีค าสั่งให้เพิกถอน
้
ค าสั่งที่ให้ผู้ฟองคดีไม่ผ่านการพิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิค ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า
การด าเนินการของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาถือได้ว่าเป็นการด าเนินการ
้
เกี่ยวกับการจัดหาในกรณีการสั่งไม่รับค าเสนอรับจ้างของผู้ฟองคดีอันเป็นค าสั่งทางปกครอง
๑๕๗
ตามข้อ ๑ (๑) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
้
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิของผู้ฟองคดี
้
และท าให้ผู้ฟองคดีไม่มีสิทธิเข้าแข่งขันเสนอราคา มติดังกล่าวจึงเป็นค าสั่งทางปกครอง
ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และเมื่อเป็นค าสั่ง
้
้
ของคณะกรรมการ ผู้ฟองคดีจึงมีสิทธิฟองคดีต่อศาลปกครองได้โดยไม่ต้องอุทธรณ์ค าสั่งก่อน
ตามนัยมาตรา ๔๘ ประกอบกับมาตรา ๘๗ แห่งพระราชบัญญัติฉบับเดียวกัน
๑๕๕-๑๕๖
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๔๘ ค าสั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการต่างๆ ไม่ว่าจะจัดตั้งขึ้น
ตามกฎหมายหรือไม่ ให้คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วย
ั
คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ทั้งในปญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งค าสั่ง
นั้น แต่ถ้าคณะกรรมการดังกล่าวเป็นคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท สิทธิการอุทธรณ์และก าหนดเวลาอุทธรณ์
ให้เป็นไปตามที่บัญญัติในกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา
มาตรา ๘๗ เมื่อได้มีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแล้ว บทบัญญัติมาตรา ๔๘ ให้เป็นอันยกเลิก
๑๕๗ อ้างแล้ว ในเชิงอรรถที่ ๘๗ หน้า ๙๑