Page 213 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 213
๑๙๙
เป็นคู่กรณีที่ได้รับแจ้งให้ใช้สิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
้
้
ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ผู้ฟองคดีจึงสามารถน าคดีมาฟองต่อศาลปกครองได้
โดยมิต้องด าเนินการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายตามมาตรา ๔๒ วรรคสอง
้
แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ กล่าวคือ ผู้ฟองคดีไม่จ าต้องอุทธรณ์และรอผล
้
การพิจารณาอุทธรณ์ก่อนฟองคดีต่อศาลปกครองแต่อย่างใด (ค าสั่งศาลปกครองสูงสุด
ที่ ๓๖๗/๒๕๕๒ วินิจฉัยแนวทางเดียวกัน)
(๒) เอกสารประกวดราคาจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นค าสั่ง
ซึ่งระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙
ไม่ได้ก าหนดขั้นตอนหรือวิธีการส าหรับการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายจากค าสั่ง
ดังกล่าวไว้โดยเฉพาะ ทั้งไม่ใช่ค าสั่งที่อาจอุทธรณ์ได้ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ผู้ฟ้ องคดีจึงฟ้ องคดีได้ทันที
ที่ได้รับทราบค าสั่งดังกล่าว
้
: ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๕๐๔/๒๕๕๑ ผู้ฟองคดีซึ่งเป็นผู้ที่ผ่าน
เงื่อนไขให้เป็นผู้มีสิทธิเสนอราคาในการประกวดราคาจ้างก่อสร้างอาคารส านักงานสรรพากรพื้นที่
้
พร้อมงานผังบริเวณของกรมสรรพากร (ผู้ถูกฟองคดี) ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ แต่ไม่เข้า
้
เสนอราคาตามเวลาที่ก าหนดเนื่องจากเห็นว่าราคากลางที่ผู้ถูกฟองคดีก าหนดไว้ไม่สามารถ
้
ท าการก่อสร้างได้ เป็นเหตุให้ผู้ถูกฟองคดียึดหลักประกันซองโดยมีหนังสือแจ้งให้ธนาคาร
้
ผู้ค ้าประกันส่งเงินตามสัญญาค ้าประกัน (หลักประกันซอง) แต่ผู้ฟองคดีเห็นว่าการก าหนด
เงื่อนไขการยึดหลักประกันซองในเอกสารประมูลจ้างก่อสร้างดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เนื่องจากเป็นการบังคับข่มขืนใจให้ผู้มีสิทธิเสนอราคาต้องท าการเสนอราคาเท่านั้น อันเป็น
ความผิดตามมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงาน
้
ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงน าคดีมาฟองขอให้ศาลมีค าพิพากษาหรือค าสั่งให้เพิกถอน
ข้อก าหนดการยึดหลักประกันซองดังกล่าว ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า เอกสารประกวด
ราคาจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นค าสั่งซึ่งระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย
การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ไม่ได้ก าหนดขั้นตอนหรือวิธีการส าหรับ
การแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายจากค าสั่งดังกล่าวไว้โดยเฉพาะ ทั้งไม่ใช่ค าสั่งที่
๑๕๓
อาจอุทธรณ์ได้ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
้
้
พ.ศ. ๒๕๓๙ ผู้ฟองคดีจึงฟองคดีได้ทันทีที่ได้รับทราบค าสั่งดังกล่าว
๑๕๓ อ้างแล้ว ในเชิงอรรถที่ ๑๑๑-๑๑๒ หน้า ๑๑๖