Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 1
บทที่ 2 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
2.1 หลักเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป1
กฎหมาย คือคําสั่งหรือขอบังคับของรัฐซึ่งกําหนดความประพฤติของมนุษย โดยมีสภาพบังคับ ผูใดจะขัดแยงมิได หากผูใดฝาฝนก็จะไดรับโทษตามสภาพความผิด
กฎหมายเปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากความคิด หรือความเชื่อของมนุษย ซึ่งมีความ เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ความหมายของกฎหมายจึงขึ้นอยูกับความเห็นของ นักปราชญทางกฎหมายแตละสาํ นัก ดังนี้
1. สํานักความคิดกฎหมายธรรมชาติ (NATURAL LAW SCHOOL)2 เปนสํานักความคิดที่มีกําเนิดและมีวิวัฒนาการมาตั้งแตสมัยกรีก สํานักนี้มี ความเห็นวา กฎหมายเปนสิ่งที่มีอยูแลวตามธรรมชาติ ซึ่งอาจเรียกวา “กฎหมายธรรมชาติ” เกิดจากธรรมชาติโดยตรงเหมือนปรากฏการณอื่นๆ ของโลก บางก็เชื่อวาธรรมชาตินั้น ก็ คือพระผูเปนเจา ดังนั้น หลักเกณฑทางศาสนา เหตุผล และศีลธรรม จึงเปนสิ่งที่นัก กฎหมายเชื่อวาเปนที่มาของกฎหมาย เพราะกฎหรือระเบียบใดที่ขัดตอเหตุผลและศีลธรรม
ยอมไรสภาพบังคับทางกฎหมาย
ซิเซโร(CICERO 106-43B.C.)นักปราชญนักนิติศาสตรและรัฐบุรุษของ
โรมัน โรมันไดอธิบายถึงความคิดเกี่ยวกับกฎหมายธรรมชาติที่ไดรับการยกยองเปนแบบ ฉบับ ไดกลาวขอความสําคัญไวตอนหนึ่งวา “กฎหมายที่แทจริง คือ เหตุผลที่ถูกตอง สอดคลองกับธรรมชาติ แผซานไปในทุกสิ่งทุกอยางสม่ําเสมอเปนนิรันดร...” (TRUE LAW IS THE RIGHT REASON, HARMONIOUS WITH, DIFFUSES AMONG ALL, CONSTANT ETERNAL...ETC.)
2. สํานักความคิดกฎหมายฝายบานเมือง (POSITIVE LAW SCHOOL) สํานักความคิดทางกฎหมายฝายบานเมืองนี้ เคียงคูกันกับความคิดทางฝาย กฎหมายธรรมชาติ เกิดขึ้นจากวัตถุประสงคที่วา ตองการใหกฎหมายมีขอความตายตัว เพื่อที่จะไดเปนหลักประสิทธิเสรีภาพของราษฎร และบุคคลที่ประกอบกิจกรรมตางๆ สํานักความคิดนี้ไมสนใจในเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม หรือมีกฎหมายธรรมชาติอยูจริง
1 พศิน เนื่องชมภู. (2552). ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. หนา 1. 2 ปรีดี เกษมทรัพย. (2531). นิติปรัชญา. หนา 347-353.